บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก 2018

อนุสัญญาCITES

รูปภาพ
อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ไบยังการนำทาง ไปยังการค้นหา บทความนี้ ไม่มี การอ้างอิง จาก แหล่งที่มาใด  กรุณาช่วย ปรับปรุงบทความนี้  โดยเพิ่มการอ้างอิงแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือ เนื้อความที่ไม่มีแหล่งที่มาอาจถูกคัดค้านหรือลบออก เนื้อหาในบทความนี้ ล้าสมัย  โปรดปรับปรุงข้อมูลให้เป็นไปตามเหตุการณ์ปัจจุบันหรือล่าสุด ดู หน้าอภิปราย ประกอบ สัญลักษณ์ไซเตส อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์  ( อังกฤษ :  Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora ) หรือเรียกโดยย่อว่า  ไซเตส  ( CITES ) และเป็นที่รู้จักในชื่อ  อนุสัญญากรุงวอชิงตัน  (Washington Convention) เป็น สนธิสัญญา ซึ่งเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2518 ในปี พ.ศ. 2516  สหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ  (IUCN) ได้จัดการประชุมนานาชาติขึ้นที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. เพื่อร่างอนุสัญญาดังกล่าว มีผู้เข้าร่วมประชุม 88 ประเทศ แต่มีผู้ลง

สนธิสัญญารีโอเดจาเนโร

รูปภาพ
รีโอเดจาเนโร  ( โปรตุเกส :  Rio de Janeiro ;  เสียงอ่านภาษาอังกฤษ:  /ˈriːoʊ deɪ dʒəˈnɛəroʊ/ ) หรือ  รีอูจีฌาเนย์รู  ( เสียงอ่านภาษาโปรตุเกส สำเนียงบราซิล:  [ˈʁi.u dʒi ʒaˈnejɾu] ) มีความหมายว่า "แม่น้ำเดือนมกราคม") หรือมักเรียกโดยย่อว่า  รีโอ  (Rio) เป็นเมืองหลวงของ รัฐรีโอเดจาเนโร   ประเทศบราซิล  โดยเป็นเมืองที่กล่าวขานกันว่างดงามที่สุดแห่งหนึ่งในโลก และเป็นที่รู้จักในด้านการท่องเที่ยว โดยเฉพาะชายหาด กอปากาบานา  (Copacabana) และ อีปาเนมา  (Ipanema)  เทศกาลรื่นเริงประจำปีของบราซิล  และ รูปปั้นพระเยซู ขนาดใหญ่ที่รู้จักในชื่อ  กริชตูเรเดงโตร์  บนยอดเขา กอร์โกวาดู รีโอเดจาเนโรตั้งอยู่ที่ ละติจูด  22 องศา 54 ลิปดาใต้ และ ลองจิจูด  43 องศา 14 ลิปดาตะวันตก ( (6,150,000)  22°54′S   43°14′W ) รีโอมีประชากรประมาณ 6,150,000 (พ.ศ. 2547) และพื้นที่ 1,256 กม² (485 ไมล์²) และเป็นเมืองใหญ่อันดับสองของประเทศบราซิลรองจาก เซาเปาลู  (São Paulo) รีโอเป็นเมืองหลวงเก่าของประเทศบราซิล ก่อนที่เมือง บราซิเลีย จะเป็นเมืองหลวงในปี  พ.ศ. 2503  (ค.ศ. 1960) รีโอเดจาเนโรได้รับเลือกจากคณะกรรมการโอลิมปิก

สนธิสัญญาโรม

สนธิสัญญาโรม  มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า  สนธิสัญญาจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป  เป็นความตกลงระหว่างประเทศซึ่งนำไปสู่การก่อตั้ง ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป ในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1958 มีการลงนามเมื่อวันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1957 โดย เบลเยียม   ฝรั่งเศส   อิตาลี   ลักเซมเบิร์ก   เนเธอร์แลนด์ และ เยอรมนีตะวันตก  คำว่า "เศรษฐกิจ" ถูกลบออกจากชื่อสนธิสัญญา โดย สนธิสัญญามาสตริกต์  ใน ค.ศ. 1993 และสนธิสัญญาดังกล่าวเปลี่ยนใหม่เป็นสนธิสัญญาว่าด้วยการทำหน้าที่ของ สหภาพยุโรป  เมื่อ สนธิสัญญาลิสบอน มามีผลใช้บังคับใน ค.ศ. 2009 ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปเสนอให้ค่อยๆ ปรับภาษีศุลกากรลดลง และจัดตั้งสหภาพศุลกากร มีการเสนอใช้จัดตั้งตลาดร่วมสินค้า แรงงาน บริการและทุนภายในรัฐสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจยุโรป และยังได้เสนอให้จัดตั้งนโยบายการขนส่งและเกษตรร่วมและกองทุนสังคมยุโรป สนธิสัญญายังได้ก่อตั้งคณะกรรมาธิการยุโรป

สนธิสัญญาโตกิโอ

รูปภาพ
อนุสัญญาโตเกียว  ( อังกฤษ :  Tokyo Convention ,  อนุสัญญาสันติภาพโตเกียว  หรือ  สนธิสัญญาโตกิโอ [1] , เนื่องจากแต่ก่อนคนไทยเรียกกรุงโตเกียวว่ากรุงโตกิโอ) เป็นอนุสัญญาสืบเนื่องมาจาก กรณีพิพาทอินโดจีน ในปี  พ.ศ. 2484  ขณะที่การรบยังไม่สิ้นสุดนั้น  ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นประเทศมหาอำนาจใน เอเชีย ขณะนั้น ได้เข้ามาไกล่เกลี่ย ซึ่งประเทศ ไทย และ ฝรั่งเศส ได้ตกลง และหยุดยิงในว้นที่  28 มกราคม   พ.ศ. 2484  ก่อนจะมีการเจรจากันในวันที่  11 มีนาคม   พ.ศ. 2484 [1]  ณ  กรุงโตเกียว  โดยมีนายโซสุเกะ มัดซูโอกะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศญี่ปุ่น เป็นหัวหน้าคณะฝ่ายญี่ปุ่น ฝ่ายไทยมี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์  ที่ปรึกษาสำนักนายกรัฐมนตรีและกระทรวงการต่างประเทศไทยเป็นหัวหน้าคณะ และฝ่ายฝรั่งเศสมี อาร์เซน อังรี เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจำกรุงโตเกียวเป็นหัวหน้า ก่อนจะมีการลงนามในอนุสัญญาโตเกียวในวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 โดยมี กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ เป็นหัวหน้าคณะลงนาม [2] จากอนุสัญญานี้ทำให้ไทยได้ ดินแดนฝั่งขวาของ หลวงพระบาง ,  จำปาศักดิ์ ,  ศรีโสภณ ,  พระตะบอง